พิพิธภัณฑ์ของเรา
ช่วงเวลา
1881
ตุ้น พู เจ้าของอาณาจักรพัฒน์พงศ์ เกิดที่มณฑลไห่หนาน ประเทศจีน ครอบครัวย้ายถิ่นฐานมาประเทศสยาม (ประเทศไทย)
1900
ตุ้น พู ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ผู้พัฒน์ และได้แต่งงานในกรุงเทพฯ
1916
ลูกชายคนที่สี่ของผู้พัฒน์ ชื่อ อุดม
1921
ผู้พัฒน์ ผู้ก่อตั้งปูนซีเมนต์ไทย
1930
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานยศให้แก่ผู้พัฒน์เป็น หลวงพัฒน์พงศ์พานิช
1936 - 1938
Udom went to England to study economics. After that, he went to the University of Minnesota 1940 -45.
1945
อุดม พัฒน์พงศ์พานิช ได้รับการฝึกอบรมโดยหน่วย OSS ครั้งแรกที่เมือง พอร์ท เบนนิ่ง ใน รัฐจอร์เจีย และได้ไปต่อที่ประเทศศรีลังกากับ จิม ทอมสัน ก่อนจะที่จะย้ายกลับมาประเทศไทย
1946
ครอบครัวพัฒน์พงศ์พานิชได้ซื้อสวนกล้วยพร้อมบ้านพักไม้สักในชานเมืองกรุงเทพฯในราคา 3000 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ ซึ่งปัจจุบันคือ พัฒน์พงศ์
1950
หลังจากหลวงพัฒน์พงศ์พานิชเสียชีวิต อุดมได้ทำการก่อสร้างร้านค้าร่วมไปกับธุรกิจครอบครัวบริเวณที่แห่งนี้
1950
อุดมได้ชักชวนบริษัทต่างชาติให้มาทำธุรกิจที่พัฒน์พงศ์ มี คาร์เท็กซ์ , เชลล์ , แอร์ฟร๊านส์ และยังมีหลายบริษัท
1950
1951
จิม ทอมสัน ได้เปิดบริษัทผ้าไหมไทยตรงข้ามกับถนนพัฒน์พงศ์
1954
Mizu was launched as the first restaurant in Patpong.
1958
โทนี่ โพ (แอนโทนี เอ โพเชพนี) จาก ลองบีช แคลิฟอร์เนีย ที่เข้าร่วมซีซัพลายเครือข่ายซีไอเอ และเบื้องหน้าของซีไอเอได้เปิดขึ้นที่พัฒน์พงศ์ กรุงเทพฯ โดยมีการจัดหาอาวุธส่งให้กับขบวนการรักชาติจีน ก๊ก มิน ตั๋ง ในประเทศพม่า
1959
โทนี่ โพ ได้เหรียญตราจากการที่เขาได้เข้าไปฝึกสอน และเขาได้เป็นแรงบันดาลใจให้กับทหารในเอเชีย
1964
พัฒน์พงศ์กลายเป็นศูนย์กลางธุรกิจในกรุงเทพฯในช่วงเวลากลางวัน และเปลี่ยนเป็นสถานบันเทิงในช่วงเวลากลางคืน
1965
ผลของสงครามเวียดนามทำให้มีทหารอเมริกันเข้ามาหาความบันเทิงเพื่อเยียวยาจิตใจในกรุงเทพ และบางกลุ่มได้เข้ามาเปิดธุรกิจในพัฒน์พงศ์
1966
ริค เมอร์นาร์ด ออกจากการเป็นทหารอเมริกันหลังจากสงครามเวียดนาม และได้ย้ายมาอยู่ประเทศไทยที่ซึ่งเขาได้พบกับ อุดม พัฒน์พงศ์พานิช
1969
เดอะ แมดริดส์บาร์ ได้เปิดตัวและได้กลายเป็นสถานที่โปรดปรานของเหล่านักบินแอร์อเมริกา
1969
โทนี่ โพ ได้ฝึกชนเผ่า ม้ง เพื่อให้ต่อสู้กับประเทศลาว และ เวียดนามเหนือ และได้เริ่มตัดหูและสังหารคู่ต่อสู้
1969
ริค เมอร์นาร์ด ได้เปิด กรังปรีส์บาร์ ที่เป็นสปอร์ตบาร์และเต้นอะโกโก้ ในพัฒน์พงศ์ เป็นแห่งแรกในกรุงเทพฯ (และเอเชีย)
1970
แอร์อเมริกา (ผู้ถูกกล่าวหา) ได้ลักลอบนำฝิ่นออกจากประเทศลาว โทนี่ โพ ผิดหวังและหันหลังให้กับประเทศลาวจึงย้ายกลับมาอยู่ประเทศไทยเพื่อฝึกการต่อสู้เพิ่ม
1972
พัฒน์พงศ์ซอย 1 (ปัจจุบันเป็นตลาด) ได้ล้นทะลักไปจนพัฒน์พงศ์ซอย 2 และบาร์ชั้นสองเริ่มมีการเต้นโป๊เปลือย และโชว์แปลกๆที่น่าสนใจ
1972
นักท่องเที่ยวทั่วโลกรวมทั้งบุคคลที่มีชื่อเสียง ดารา นักร้อง เริ่มมาเที่ยวพัฒน์พงศ์
1973
The Mississippi Queen Cocoa Bar was launched in Patpong, and in a short time there were many more bars opening.
1974
โทนี่ โพ เกษียรและอยู่เมืองไทยกับภรรยาชาวม้ง เรื่องราวชีวิตจริงของเขาได้กลายมาเป็นเค้าโครงบทบาทของ โคโลเนล เคิร์ซ ในภาพยนต์เรื่อง อโพคาลิปส์นาว
1975
Charles Sobhraj และ Marie Leclerc คู่หมั้นของเขา ได้เช่าอพาร์ทเม้นท์ชื่อ บ้านคณิต ที่ซอยศาลาแดง และเขาได้มานั่งดื่มที่บาร์ในถนนพัฒน์พงศ์อยู่เป็นประจำ หรือในบางครั้งก็มากับเหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของเขา
1977
What made Patpong famous again? When the film “The Deer Hunter” won the Oscar for best
picture, the streets were full of painting stories. Scribble In Vietnamese style, and there are important scenes shot in a Mississippi bar. queen
1978
Robert De Niro และ Christopher Walken ได้เข้ามาถ่ายทำภาพยนตร์เรื่อง Deer Hunter โดยใช้ บาร์Mississippi Queen ซึ่งเป็นบาร์ที่เป็นตำนานของถนนพัฒน์พงศ์เป็นฉากในภาพยนต์
1983
เดวิด โบวี่ มากรุงเทพฯเพื่อแสดงคอนเสิร์ต เขาได้ไปถ่ายทำมิวสิควีดีโอเพลง ริโกเชท ที่ ซุปเปอร์สตาร์ โกโก้บาร์ ในพัฒน์พงศ์และเขาก็หลงระเริงความสุขอยู่ในพัฒน์พงศ์ชั่วขณะหนึ่ง
1988
จอน คลอ แวน แดม จากภาพยนต์เรื่อง คิกบ๊อกเซอร์ ได้ถ่ายทำที่ถนนพัฒน์พงศ์
1988
เรือประจำการถูกยึดพร้อมกับกัญชาที่มาจากประเทศไทย จำนวน 72 ตัน ถูกจับกุมโดยหน่วยยามฝั่งสหรัฐ ผู้ต้องหารับสารภาพ และเป็นเจ้าของบาร์ Superstar ในถนนพัฒน์พงศ์
1989
ภาพยนต์เพลงเรื่อง มิสไซง่อน
1989
The night market has launched on Patpong 1 Road during the night.
2003
บางฉากจากภาพยนต์เรื่อง บิวตี้ฟูลบ๊อกเซอร์ โดยเนื้อเรื่องนี้เกี่ยวกับคุณปริญญา เจริญผล ซึ่งเป็นแชมป์มวยไทยสาวประเทศสองของไทย ได้มาถ่ายทำที่พัฒน์พงศ์
2004
พัฒน์พงศ์ถูกกำหนดให้เป็นย่านสถานบันเทิง 1 (ใน 3) ของกรุงเทพฯ ที่อนุญาตให้เปิดให้บริการได้ดึกมากกว่าปกติ
2011
สารคดีชุดต่อเนื่องอย่าง วอรส์ กลอรี่ โดย ไมเคิล กลาวอคเกอร์ ได้ถ่ายทำใน แบล๊คพาโกดะ
2019
พิพิธภัณฑ์พัฒน์พงศ์ ได้ทำการเปิดตัวและเป็นหนึ่งในสถานที่ที่เผยแพร่ประวัติศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์อีกแห่งหนึ่งของเมืองไทย
2021
พัฒน์พงศ์ มิวเซียมได้รับรางวัลดีเด่นด้าน พิพิธภัณฑ์เพื่อชุมชนและสังคม จาก Museum Thailand Award 2021
พิพิธภัณฑ์พัฒน์พงศ์คว้ารางวัลสถานที่ท่องเที่ยวชั้นนำ 10%ของ ทั่วโลกจากผู้ที่เข้าเยี่ยมชม ใน TripAdvisor